ce loh2l คณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ศูนย์ความเป็นเลิศและนวัตกรรมเพื่อสุขภาพช่องปากและชีวิตยืนยาว

Center of Excellence and Innovation
for Oral Health and Healthy Longevity

มุ่งเน้นการก้าวสู่ความเป็นเลิศด้านการวิจัย
การพัฒนาความยั่งยืน
และการสร้างสรรค์นวัตกรรม
เพื่อประโยชน์แก่สังคมไทย

ชื่อกลุ่มงานวิจัย

divider heading คณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ศูนย์ความเป็นเลิศและนวัตกรรมเพื่อสุขภาพช่องปากและชีวิตยืนยาว

Center of Excellence and Innovation for Oral Health and Healthy Longevity

สาขาวิชา

divider heading คณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • วิทยาศาสตร์สุขภาพ (Health sciences)
  • ชีววิทยาศาสตร์ (Life sciences)
  • สุขภาพ (Health)

ความเชี่ยวชาญของศูนย์ฯ

divider heading คณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • สร้างออร์แกนอยด์ในหลอดทดลองเพื่อศึกษาโรคที่เกี่ยวข้องกับความชรา ซึ่งส่งผลกระทบต่อต่อมมีท่อ เยื่อบุช่องปาก และเนื้อเยื่ออื่นๆ ในบริเวณศีรษะและลำคอ โดยใช้เทคนิคการพิมพ์ชีวภาพที่เพาะเลี้ยงเซลล์ในระบบไมโครสรีรวิทยา ทั้งในรูปแบบคงที่และระบบที่มีการไหลเวียนของสารอาหาร
  • สร้างออร์แกนอยด์มะเร็งในหลอดทดลองโดยมุ่งเป้าการศึกษาไปยังต่อมมีท่อ เยื่อบุช่องปาก และเนื้อเยื่ออื่นๆ ในบริเวณศีรษะและลำคอ โดยใช้เทคนิคการพิมพ์ชีวภาพที่เพาะเลี้ยงเซลล์ในระบบไมโครสรีรวิทยา ทั้งในรูปแบบคงที่และระบบที่มีการไหลเวียนของสารอาหาร
  • พัฒนาเครื่องมือห้องปฏิบัติการบนชิป เพื่อพัฒนายาและศึกษากลไกลของโรคที่เกี่ยวข้องกับบริเวณศีรษะและใบหน้า

เป้าหมายของโครงการวิจัยที่กำลังดำเนินการ

divider heading คณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  1. ผลิตเครื่องมือห้องปฏิบัติการบนชิป (lab-on-a-chip) และพัฒนาระบบไมโครสรีรวิทยา (microphysiological systems) สำหรับสร้างออร์แกนอยด์จำลองการทำงานของเนื้อเยื่อในบริเวณศีรษะและใบหน้า เช่น ต่อมมีท่อ เยื่อบุช่องปาก เอ็นปริทันต์ กล้ามเนื้อ และกระดูกอ่อน ทั้งในสภาวะปกติและในภาวะที่เกิดโรค เพื่อใช้ในการพัฒนายา
  2. พัฒนาวัสดุชีวภาพ (biomaterials) และหมึกชีวภาพ (bioinks) สำหรับการพิมพ์ชีวภาพ (bioprinting) เพื่อสร้างออร์แกนอยด์จำลองการทำงานของต่อมน้ำลาย ต่อมน้ำตา เนื้อเยื่อเยื่อบุช่องปาก การซ่อมแซมพื้นผิวฟัน รวมทั้งการฟื้นฟูกระดูกอ่อน และกล้ามเนื้อในบริเวณศีรษะและใบหน้า
  3. สร้างฐานข้อมูลพร้อมการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกด้วยเทคนิคมัลติโอมิกส์ในออร์แกนอยด์มะเร็ง ผ่านเครื่องมือห้องปฏิบัติการบนชิปโดยมุ่งเน้นการศึกษาไปที่บริเวณศีรษะและใบหน้า
  4. พัฒนาเครื่องมือปัญญาประดิษฐ์และเทคโนโลยีการถ่ายภาพชีวภาพ เพื่อประเมินโรคที่เกี่ยวข้องกับความชรา เช่น โรคมะเร็ง การเกิดการอักเสบ ผ่านเครื่องมือห้องปฏิบัติการบนชิป

เป้าหมายสูงสุด

divider heading คณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

พัฒนากระบวนการขึ้นรูปทางชีวภาพ (Biofabrication) และการพิมพ์ชีวภาพ เพื่อสร้างออร์แกนอยด์ในหลอดทดลองจำลองเนื้อเยื่อในบริเวณศีรษะและใบหน้า เช่น ต่อมมีท่อ เยื่อบุช่องปาก เนื้อเยื่อปริทันต์ กล้ามเนื้อบดเคี้ยว กระดูกอ่อนจมูก และเนื้อเยื่อหลอดลม โดยการเลี้ยงด้วยระบบคงที่ หรือระบบไมโครสรีรวิทยาที่มีประสิทธิภาพสูง หรือเครื่องมือห้องปฏิบัติการบนชิป เพื่อจำลองโรคที่เกี่ยวข้องกับความชราและโรคเรื้อรัง เช่น โรคมะเร็ง การเกิดการอักเสบ และโรคที่เกิดจากการบำบัดมะเร็ง โดยมีเป้าหมายในการค้นคว้าวิธีการรักษาแบบใหม่ และเปิดเผยกลไกการเกิดโรคที่ยังไม่เคยได้รับการศึกษาอย่างละเอียด

แผนกลยุทธ์ของศูนย์ความเป็นเลิศ

divider heading คณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

มุ่งเน้นการก้าวสู่ความเป็นเลิศด้านการวิจัย การพัฒนาความยั่งยืน และการสร้างสรรค์นวัตกรรม เพื่อประโยชน์แก่สังคมไทยในช่วงระยะเวลา 5 ปีข้างหน้า (2567-2572)

Administrative Structure

divider heading คณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

The Center of Excellence and Innovation for Oral Health & Healthy Longevity is composed of a total of 8 full-time faculty members, including the head, from different CU faculties, and also a research consultant from King Chulalongkorn Memorial Hospital – Red Cross Society. Below is the mission and the responsibilities of each CE team member.

Organizational Structure of the CE and Management Roles and Responsibilities of the CE Head/Leader and its personnel:

Joao Ferreira คณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Head of the CE

Assoc. Prof. Joao Nuno Andrade Requicha Ferreira, D.D.S., M.Sc., Ph.D.

Profile

Monnat Pongpanich คณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Deputy Head CE

Assoc. Prof. Monnat Pongpanich, Ph.D.

Profile

Supansa Yodmuang คณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

CE Co-Investigator 1

Assist. Prof. Supansa Yodmuang, Ph.D.

Profile

รศ.ทพญ.ดร.ริสา ชัยศุภรัตน์ คณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

CE Co-Investigator 2

Assoc. Prof. Risa Chaisuparat, D.D.S., Ph.D.

Profile

Supreda Srithanyarat คณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

CE Co-Investigator 3

Assist. Prof. Supreda Srithanyarat, D.D.S., M.S.D., Ph.D.

Profile

อ.ทญ.ดร.ชญานิษฐ์ ฉวีวรรณากร คณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

CE Co-Investigator 4

Assist. Prof. Chayanit Chaweewannakorn, D.D.S., Ph.D.

Profile

อ.ทพ.ดุสิต นันทนพิบูล คณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

CE Co-Investigator 5

Assist. Prof. Dusit Nantanapiboon, D.D.S.

Profile

D6EAD825 1076 4697 9527 F7AFEB6FDDFF คณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

CE Co-Investigator 6

Dr. Pirawish Limlawan, D.D.S., Ph.D.

Profile

Tanom Bunaprasert คณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

CE Research Consultant

Assoc. Prof. Tanom Bunaprasert, M.D.

Profile

Yamin Oo คณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

CE Research Consultant

Yamin Oo, Pharm.D., M.Sc.

Profile